Page 46 - File Ok2Magazine Military development362p78
P. 46

๒. ด้านเศรษฐกิจ พระราชกรณียกิจทางด้านเศรษฐกิจที่ส�าคัญของพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช ประกอบด้วย
                 ๒.๑ โปรดให้สร้างท�านบกักน�้าที่เรียกว่า “สรีดภงส์” เพื่อน�าน�้าไปใช้ในตัวเมืองสุโขทัยและบริเวณใกล้เคียง โดยอาศัย

          แนวคันดินที่เรียกว่า “เขื่อนพระร่วง” ท�าให้มีน�้าส�าหรับใช้ในการเพาะปลูกและอุปโภคบริโภคในยาม ที่บ้านเมืองขาดแคลนน�้า
                 ๒.๒ ทรงส่งเสริมการค้าขายภายในราชอาณาจักรเป็นอย่างดีด้วยการไม่เก็บภาษีผ่านด่านหรือ “จกอบ” (จังกอบ)
          จากบรรดาพ่อค้าที่เข้ามาค้าขายในกรุงสุโขทัย ท�าให้การค้าขายขยายออกไปอย่างกว้างขวาง

          ๓. ด้านวัฒนธรรม พระราชกรณียกิจที่ส�าคัญของพ่อขุน
          รามค�าแหงมหาราชทางด้านวัฒนธรรม มีดังนี้

                 ๓.๑ ทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แทนตัวอักษร
          ขอมที่เคยใช้กันมาแต่เดิม เมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ เรียกว่า “ลายสือ
          ไทย” และได้มีการพัฒนาการมาเป็นล�าดับจนถึงอักษรไทยใน

          ยุคปัจจุบัน ท�าให้คนไทยมีอักษรไทยใช้มาจนถึงทุกวันนี้
                 ๓.๒ ทรงรับเอาพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิ

          ลังกาวงศ์ จากลังกา ผ่านเมืองนครศรีธรรมราช มาประดิษฐาน
          ที่เมืองสุโขทัย ท�าให้พระพุทธศาสนาวางรากฐานมั่นคงใน
          อาณาจักรสุโขทัย และเผยแผ่ไปยังหัวเมืองต่างๆ ในราช

          อาณาจักรสุโขทัย จนกระทั่งได้กลายเป็นศาสนาประจ�าชาติ
          ไทยมาจนถึงทุกวันนี้

                 ๓.๓ โปรดให้จารึกเรื่องราวบางส่วนที่เกิดในสมัย
          ของพระองค์ โดยปรากฏอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑
          ท�าให้คนไทยยุคหลังได้ทราบ และนักประวัติศาสตร์ได้ใช้ศิลา

          จารึกดังกล่าวเป็นข้อมูลหลักฐานในการศึกษาค้นคว้าเรื่องราว
          ประวัติศาสตร์สุโขทัย

          ๔. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ พระราชกรณียกิจ
          ทางด้านความส�าคัญระหว่าง ประเทศของพ่อขุนรามค�าแหง
          ได้แก่ การใช้ความสัมพันธ์ทางด้านการทูตและความ

          สัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะทางด้านพระพุทธ
          ศาสนาแทนการท�าสงคราม ท�าให้สุโขทัยมีแต่ความสงบ

          ร่มเย็น ไม่เกิดสงครามกับแคว้นต่างๆ ในสมัยของพระองค์
          และได้หัวเมืองประเทศราชเพิ่มขึ้นอีกด้วย



         46     วารสาร
              ทหารพัฒนา
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51